โค้งตามแนวนอน (Horizontal Curve)
______________________________________________
โค้งวงกลม (Circular
curve)
รูปแสดงตัวอย่างโค้งวงกลม
โค้งวงกลม (Circular curve)
นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โค้งเดี่ยว (Simple
curve) ส่วนที่จะนำไปใช้ในการออกแบบและก่อสร้าถนนคือแนวศูนย์กลาง(Center
line) CAQBD ซึ่งการใส่โค้งวงกลมเพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรค เช่น สิ่งก่อสร้าง
ภูเขา โดยการก่อสร้างจะเป็นไปตามหลักการทางเรขาคณิต
เพื่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยของยวดยาน
ส่วนประกอบต่างๆของโค้งวงกลม
ความยาวของเส้นสัมผัส : T=Tangent
มุมเหหรือมุมสกัด : Δ = Defflection angle
I, IA =
Intersection angle
จุดเริ่มต้นโค้งราบ : BC = Beginning of
curve
PC = Point of curve
HPC = Horizontal point of curve
TC = Tangent to curve
จุดสิ้นสุดโค้งราบ : EC = End of curve
PT = Point of tangent
HPT = Horizontal point of tangent
CT = Curve to tangent
จุดตัดของเส้นสัมผัสโค้ง : PI = Point of (tangent) intersection
IP = Intersection
point
HIP =
Horizontal i Intersection point
คอร์ดหลักหรือคอร์ดยาวที่สุด : C = Chord
LC = Long chord หรือ Length of chord
ระยะฉากกลางคอร์ด : M,MO =
Mid-ordinate
ML
= Middle ordinate length
ระยะกลางโค้งด้านนอก : E =
External distance
ความยาวโค้ง : L = Length of curve
Lc = Length of circular curve
รัศมี :
R = Radius
ค่าความโค้ง : 1/R
สูตรคำนวณ Circular
curve
องศาโค้ง (Degree of Curve =D)
กรณีที่ 1 Arc Definition
: R = 5729.57795/D
องศาโค้ง คือ จำนวนมุมที่จุศูนย์กลางที่รองรับโค้ง ยาวเท่ากับ
100เมตร เรียก Arc definition ความยาว 100เมตร เป็นความยาวมาตรฐานโค้ง (Standard curve)
กรณีที่ 2 Chord Definition : R =
5729.65067/D
องศาโค้ง คือ จำนวนมุมที่จุศูนย์กลางที่รองรับคอร์ด
ยาวเท่ากับ 100เมตร ความยาว 100เมตรคือความยาวของคอร์คมาตรฐาน
ตารางความสัมพันธ์ V D R องศาโค้งที่ให้ความปลอดภัยที่สุด
มุมหักเห (Deflection Angle)
การหา Deflection Angle
จากค่า D จากรูป
D = 4d
กำหนดให้มุม d เป็นมุมที่รองรับ arc(a) ยาว 5 เมตร
d = D/4
ดังนั้น Deflection Angle = d/2 = D/8
ความสัมพันธ์ระหว่าง Deflection angle, arc, radius and chord
Deflection Angle for Each Station
ระยะ STATION : PI, PC and PT
PC STA = PI STA-T
PT
STA = PC STA+L
สูตรการคำนวณหาส่วนต่าง
ๆ ของโค้งวงกลม
ความยาวของเส้นสัมผัส (Tangent = T)
ความยาวของเส้นคอร์ด (Length of Chord = LC)
มุมสัมพันธ์โค้ง (Degrees of curve = D)
ความยาวของโค้งวงกลม(Length of curve = Lc หรือ arc)
ความยาว ณ
กึ่งกลางคอร์ดถึงกึ่งกลางโค้ง (Middle ordinate = M)
ความยาว ณ
กึ่งกลางโค้งถึงจุดตัดของเส้นสัมผัส (External
distance = E)
ความยาวของรัศมีโค้งวงกลม(Radius of curve = R)
ตัวอย่างการคำนวณโค้งวงกลม
Example:
It is required to connect two
intersecting straights whose deflection angle is 13°16’00” by a circular curve of radius 600m. The through chainage of theintersection point is 2745.72m and pegs are required on the centreline of the curve at
exact multiples of 25m of through chainage.
Tabulate the data necessary to set
out the curve by the tangential angles method using a theodolite and tape.
Solution:
Through
chainage of T = Chainage of I – IT = 2745.72 – 69.78 = 2675.94mTo fix the first
point on the curve at 2700m (the next multiple of 25m) the initial sub chord
is:
Initial sub-chord = 2700 – 2675.94 = 24.06m
Length of circular curve = LC = Rθ (θ in
radians).
Through chainage of U = Chainage of T + LC = 2675.94 +
138.93 = 2814.87m Hence a final sub-chord is also required since 25m chords can
on be used up to 2800m
Length of final sub-chord = 2814.87 – 2800 = 14.87m
Hence
the 3 chords necessary are:
__________________________________________________
โค้งผสม (Compound
curve)
รูปตัวอย่างโค้งกลับผสม
โค้ง
ที่ประกอบด้วยโค้ง วงกลมหลายโค้งมาต่อกัน
และจุดศูนย์กลางโค้งทั้งหมดจะอยู่ซีกเดียวกันของเส้น สัมผัส
และรัศมีของโค้งที่เชื่อมต่อกันจะยาวไม่เท่ากัน จุดที่ความยาวโค้ง ต่อกัน คือ Point of compound curve (PCC)
ส่วนสำคัญของโค้ง ผสมคือมุมเหของโค้งร่วม (ΣΔi) รัศมีของโค้งร่วม
(Ri) เส้น สัมผัสเส้น ยาว/เส้น สั้น
(TL/TS) และ Δ ของโค้ง ผสม
ประโยชน์ของโค้ง ผสม
1. ใช้ในบริเวณที่เป็นภูเขาเพื่อปรับเส้นทางถนน
ให้เข้ากับภูมิประเทศและเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการสัญจร
2. ใช้ในบริเวณทางต่อเชื่อมระหว่างถนนและทางด่วน
(Ramp) ที่บริเวณ ทางขึ้นหรือทางลง หรือใช้ในการออกแบบโค้ง
ของทางแยกต่างระดับ (Interchange) โดยใช้ร่วมกับโค้งก้นหอย
3. ใช้ในการรออกแบบช่องทางสำหรับเลี้ยวในกรณีที่ถนนสายหลักกับถนนสายรองมาตัดกัน
โค้งผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง (Two center
compound curve)
ข้อมูลที่ทราบจากการสำรวจภาคสนาม
: Δi ของแต่ละโค้ง ย่อยและค่า R ของแต่ละโค้ง ย่อย
การพิสูจน์สูตรโดยใช้ระบบพิกัดฉาก
______________________________________________
โค้งกลับทิศทาง (Reversed
curve)
- รูปตัวอย่างโค้งกลับทิศ
โค้งผสมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ตรงข้ามกัน
ประกอบด้วยโค้ง สองโค้งมีจุด PRC (Point of reverse curve) เป็นจุดร่วมหรือมีเส้น
สัมผัสที่ต่อเชื่อมระหว่างโค้ง เรียกว่า เส้น สัมผัสร่วม (Intermediate
tangent)
- Intermediate tangent จะอยู่ระหว่างโค้ง ทำหน้า ที่แยกโค้ง สองโค้ง ออกจากกัน และควรมีความยาวประมาณ 100 เมตร
โค้งกลับทิศทางต่อกันที่จุด
PRC
ประเภทที่ 1 : รัศมียาวไม่เท่ากัน
คำนวณเสมือนโค้ง วงกลมสองวงต่อกัน
ประเภทที่ 2 : รัศมียาวเท่ากันคำนวณหารัศมีที่ใช้กับทั้งสองโค้ง
ได้ดังนี้
โค้งกลับทิศทางที่มีเส้นสัมผัสขนานกัน
ประเภทที่ 1: รัศมียาวเท่ากัน
ประเภทที่2: รัศมีไม่เท่ากัน
โค้งกลับทิศทางที่เส้นสัมผัสไม่ขนานกัน
แต่รัศมีเท่ากัน
ประเภทที่ 1: AB ได้ จากการวางแนว
กําหนดมุม α, β หา Δ1และ Δ2
_____________________________________________
โค้งก้นหอย (Transition Spiral Curve)
Transition Spiral Curve หรือโค้งก้นหอย
เป็นโค้งราบ นิยมใช้กับถนนหรือทางรถไฟที่ต้องการให้ยวดยานเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
ใช้แทนโค้งอันตราย (Sharp curve) ทางเลี้ยว
ทางแยกต่างระดับ (Interchange) ทางแยก (Intersection) ช่วยให้คนขับสามารถค่อยๆ บังคับรถให้เลี้ยว ได้ง่ายในขณะที่ใช้ความเร็วสูง
ทําให้รถไม่เสียหลัก
แนวคิดของTransition
curve หรือ Spiral curve ทางเรขาคณิต
1.
แนวคิดลดรัศมี ของโค้งวงกลม(R) ลงเท่ากับ P
2. แนวคิดเลื่อนโค้งวงกลมลงมาโดยที่
โค้งไม่เปลี่ยนแปลงเลย (Shift circular curve)
3.
แนวคิดให้รัศมีโค้งและองศาโค้งเหมือนเดิม
และจุดศูนย์กลางคงที่แต่เลื่อนเสนสัมผัสโค้งวงกลมออกไป (Shift tangent
line)
4.
เนื่องจากโค้งวงกลมเดิมเป็นโค้งอันตราย จึงเปลี่ยนเป็นโค้งผสมเพื่อให้สามารถใส่ Spiral curve ได้
__________________________________________________
Horizontal curve Formulas ( YOUTUBE )
แหล่งที่มา : https://youtu.be/6cjL3RkiTvo
แหล่งที่มา : https://youtu.be/5P0W9spnPZ8
แหล่งที่มา : https://youtu.be/5c8IpIXBPhk